อริยสัจ 4

Description

ความจริงอันประเสริฐ ความจริงของพระอริยะ หรือความจริงที่ทำให้ผู้เข้าถึงกลายเป็นอริยะ
pmanisa
Mind Map by pmanisa, updated more than 1 year ago More Less
kongpop113
Created by kongpop113 over 10 years ago
pmanisa
Copied by pmanisa over 10 years ago
pmanisa
Copied by pmanisa over 10 years ago
pmanisa
Copied by pmanisa over 10 years ago
87
0

Resource summary

อริยสัจ 4

Annotations:

  • ความจริงอันประเสริฐ ความจริงของพระอริยะ หรือความจริงที่ทำให้ผู้เข้าถึงกลายเป็นอริยะ มีอยู่สี่ประการ
  1. ทุกข์

    Annotations:

    • สภาพที่ทนได้ยาก ภาวะที่ทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ สภาพที่บีบคั้น ได้แก่ ชาติ (การเกิด) ชรา (การแก่ การเก่า) มรณะ (การตาย การสลายไป การสูญสิ้น) การประสบกับสิ่งอันไม่เป็นที่รัก การพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รัก การปรารถนาสิ่งใดแล้วไม่สมหวังในสิ่งนั้น กล่าวโดยย่อ ทุกข์ก็คืออุปาทานขันธ์ หรือขันธ์ 5
    1. ชาติ
      1. ชรา
        1. มรณะ
          1. โสกะ
            1. ปริเทวะ
              1. ทุกข์กาย
                1. โทมนัส
                  1. อุปายาส
                    1. ความประจวบกับสิ่งไม่เป็นที่รัก
                      1. ความพลัดพรากจากสิ่งที่รัก
                        1. ปรารถนาสิ่งใดไม่ได้สิ่งนั้น
                        2. สมุทัย

                          Annotations:

                          • สาเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ ได้แก่ ตัณหา 3 คือ กามตัณหา-ความทะยานอยากในกาม ความอยากได้ทางกามารมณ์, ภวตัณหา-ความทะยานอยากในภพ ความอยากเป็นโน่นเป็นนี่ ความอยากที่ประกอบด้วยภวทิฏฐิหรือสัสสตทิฏฐิ และ วิภวตัณหา-ความทะยานอยากในความปราศจากภพ ความอยากไม่เป็นโน่นเป็นนี่ ความอยากที่ประกอบด้วยวิภวทิฏฐิหรืออุจเฉททิฏฐิ
                          1. กามตัณหา

                            Annotations:

                            • กามตัณหา (อ่านว่า กามะ-, กามมะ-) แปลว่า ความอยากในกาม ความเยื่อใยในกาม ฯลฯ โดยทั่วไปหมายถึงความอยากในกามคุณ 5 คือ รูป เสียง กลิ่น รสและโผฏฐัพพะ ใจความสูงสุดของกามตัณหา หมายถึงความยินดี ความติดใจ ความพอใจในกามภพอันเป็นที่เกิดของผู้ยังเกี่ยวข้องด้วยกามซึ่งพร้อมมูลด้วยกามได้แก่โลกมนุษย์และเทวโลก
                            1. ภวตัณหา
                              1. ภวตัณหา
                              2. นิโรธ

                                Annotations:

                                • ความดับทุกข์ ได้แก่ ดับสาเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ กล่าวคือ ดับตัณหาทั้ง 3 ได้อย่างสิ้นเชิง
                                1. ปทาน - การละกิเลส
                                  1. วิมุตติ - การหลุดพ้น
                                    1. วิเวก - ความสงัด
                                      1. วิราคะ - ความคลายกำหนัด
                                        1. โวสสัคคะ - ความสละ
                                        2. มรรค

                                          Annotations:

                                          • แนวปฏิบัติที่นำไปสู่หรือนำไปถึงความดับทุกข์ ได้แก่ มรรคอันมีองค์ประกอบอยู่แปดประการ คือ 1. สัมมาทิฏฐิ-ความเห็นชอบ 2. สัมมาสังกัปปะ-ความดำริชอบ 3. สัมมาวาจา-เจรจาชอบ 4. สัมมากัมมันตะ-ทำการงานชอบ 5. สัมมาอาชีวะ-เลี้ยงชีพชอบ 6. สัมมาวายามะ-พยายามชอบ 7. สัมมาสติ-ระลึกชอบ และ 8. สัมมาสมาธิ-ตั้งใจชอบ ซึ่งรวมเรียกอีกชื่อหนึ่งได้ว่า "มัชฌิมาปฏิปทา" หรือทางสายกลาง
                                          1. เห็นชอบ
                                            1. ดำริชอบ
                                              1. พูดชอบ
                                                1. กระทำชอบ
                                                  1. อาชีพชอบ
                                                    1. เพียรชอบ
                                                      1. ระลึกชอบ
                                                        1. ตั้งใจมั่นชอบ
                                                        Show full summary Hide full summary

                                                        Similar

                                                        Physics - Energy, Power & Work
                                                        dominique22
                                                        Finance
                                                        pamelamossman
                                                        What was the Cold War?
                                                        Emily Tisch
                                                        Restless Earth Notes
                                                        Gladys Mba
                                                        Economics - unit 1
                                                        Amardeep Kumar
                                                        AQA GCSE Physics Unit 2
                                                        Gabi Germain
                                                        Biology B1.3
                                                        raffia.khalid99
                                                        GCSE - Introduction to Economics
                                                        James Dodd
                                                        GCSE - AQA: C1.1 The Fundamental Ideas in Chemistry
                                                        Olly Okeniyi
                                                        What are they doing?
                                                        Tamara Urzhumova