โขน

Description

Mind Map on โขน, created by plu3miiz on 29/12/2013.
plu3miiz
Mind Map by plu3miiz, updated more than 1 year ago
plu3miiz
Created by plu3miiz over 10 years ago
4499
0

Resource summary

โขน
  1. ความหมาย
    1. นาฏศิลป์ชั้นสูงที่เก่าแก่ของไทย มีมานานตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา
      1. ปรับปรุงจากการเล่น 3 ประเภท
        1. หนังใหญ่
          1. ชักนาคดึกดำบรรพ์
            1. กระบี่กระบอง
            2. ผู้แสดงจะสวมหน้ากากปิดบังใบหน้าตนเองและถืออาวุธ
              1. เรื่องที่แสดงนิยมแสดงเรื่องรามเกียรติ์และอุณรุฑ
                1. มักนิยมแสดงเป็นมหกรรมบูชาเจ้านายชั้นสูง
                2. ประเภท
                  1. โขนกลางแปลง
                    1. การแสดงโขนบนพื้นดิน ไม่มีการสร้างโรง
                      1. ผู้แสดงเล่นกลางสนาม
                        1. นิยมแสดงตอนยกทัพรบกันระหว่างฝ่ายพระรามและฝ่ายทศกัณฐ์
                          1. ดนตรีที่ใช้ประกอบเป็นวงปี่พาทย์อย่างน้อย 2 วง
                            1. วิวัฒนาการมาจากการเล่นชักนาคดึกดำบรรพ์เรื่องกวนน้ำอมฤต
                              1. มีการเต้นประกอบหน้าพาทย์และอาจมีบทพาทย์และเจรจาบ้าง แต่ไม่มีบทร้อง
                              2. โขนโรงนอก (โขนนั่งราว)
                                1. การแสดงโขนที่แสดงบนโรงมีหลังคา มีราวพาดตามส่วนยาวของโรง
                                  1. มีการพากย์และเจรจา แต่ไม่มีการร้อง
                                    1. ปี่พาทย์บรรเลงเพลงหน้าพาทย์ ๒ วง เพราะต้องบรรเลงมาก
                                      1. เป็นที่มาของการเรียกว่าวงหัวและวงท้ายหรือวงซ้ายและวงขวา
                                      2. ตัวละครที่จะนั่งราวได้จะต้องเป็นตัวสูงศักดิ์
                                        1. วิวัฒนาการมาจากโขนกลางแปลง
                                        2. โขนหน้าจอ
                                          1. โขนที่เล่นตรงหน้าจอ ซึ่งเดิมขึงไว้สำหรับเล่นหนังใหญ่
                                            1. โดยผู้แสดงโขนออกมาแสดงสลับกับการเชิดตัวหนัง (หนังติดตัวโขน)
                                              1. ศิลปะสำคัญในการแสดงคือการพากย์และเจรจา
                                                1. ดนตรีที่ใช้ : ปี่พาทย์
                                                  1. ผู้เชิดตัวหนังจะต้องเต้นตามจังหวะดนตรีและลีลาท่าทางของตัวหนัง
                                                  2. โขนโรงใน
                                                    1. โขนที่นำเอาศิลปะของละครในมาผสม
                                                      1. ในรัชกาลที่ 1-2 มีการปรับปรุงขัดเกลาและประพันธ์บทพากย์ บทเจรจาให้มีความไพเราะ สละสลวยมากยิ่งขึ้น
                                                        1. ผู้แสดงเป็นตัวพระ ตัวนางและเทวดา เริ่มที่จะไม่ต้องสวมหัวโขนในการแสดง
                                                          1. การพากย์และเจรจาตามแบบฉบับของการแสดงโขน
                                                            1. นำเพลงขับร้องประกอบอากัปกิริยาอาการของตัวละคร
                                                              1. ใช้ปี่พาทย์บรรเลง 2 วง
                                                                1. โขนที่แสดงปัจจุบันนี้ ใช้ศิลปะการแสดงแบบโขนโรงใน ไม่ว่าจะแสดงกลางแจ้งหรือแสดงหน้าจอก็ตาม
                                                                2. โขนฉาก
                                                                  1. ถือกำเนิดขึ้นครั้งแรก ในสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.5)
                                                                    1. มีการจัดฉากในการแสดงแบบละครดึกดำบรรพ์
                                                                      1. แบ่งเป็นฉากเป็นองก์ เข้ากับเหตุการณ์และสถานที่จึงเรียกว่าโขนฉาก
                                                                        1. วิธีแสดงดำเนินเช่นเดียวกับโขนโรงใน
                                                                          1. กรมศิลปากรได้ทำบทเป็นชุดๆ ไว้หลายชุด
                                                                            1. ชุดปราบกากนาสูร
                                                                              1. ชุดมัยราพณ์สะกดทัพ
                                                                                1. ชุดนางลอย
                                                                                  1. ชุดนาคบาศ
                                                                                    1. ชุดพรหมาสตร์
                                                                                      1. ชุดศึกวิรุญจำบัง
                                                                                  2. ลักษณะบทโขน
                                                                                    1. บทร้อง
                                                                                      1. แต่งเป็นกลอนบทละครเป็นส่วนใหญ่
                                                                                        1. อาจมีคำประพันธ์ชนิดอื่นบ้างแต่ไม่นิยม
                                                                                          1. จะมีเฉพาะโขนโรงในและโขนฉากเท่านั้น
                                                                                          2. บทพากย์
                                                                                            1. เดินเรื่องด้วยบทพากย์
                                                                                              1. แต่งเป็นคำประพันธ์ชนิดกาพย์ฉบัง ๑๖ หรือกาพย์ยานี ๑๑
                                                                                            2. วิธีดูโขน
                                                                                              1. ผู้ดูต้องดูการแสดงท่าทาง ซึ่งจะบอกความหมาย ความรู้สึก
                                                                                                1. หน้าพาทย์ต่างๆ ที่ใช้ในการแสดงโขนจึงมีความสำคัญมาก
                                                                                                  1. ท่าทางที่โขนแสดงออกย่อมสัมพันธ์กับดนตรี

                                                                                                  Media attachments

                                                                                                  Show full summary Hide full summary

                                                                                                  Similar

                                                                                                  Cell Structure
                                                                                                  megan.radcliffe16
                                                                                                  GCSE REVISION TIMETABLE
                                                                                                  haameem1999
                                                                                                  AS Psychology Unit 1 - Memory
                                                                                                  Asterisked
                                                                                                  ENG LIT TECHNIQUES
                                                                                                  Heloise Tudor
                                                                                                  GCSE REVISION TIMETABLE
                                                                                                  TheJileyProducti
                                                                                                  BELIEVING IN GOD- UNIT 1, SECTION 1- RELIGIOUS STUDIES GCSE EDEXCEL
                                                                                                  Khadijah Mohammed
                                                                                                  History- Religion and medicine
                                                                                                  gemma.bell
                                                                                                  NSI Test First day
                                                                                                  brahim matrix
                                                                                                  English spelling rules
                                                                                                  Sarah Holmes
                                                                                                  Legislative Branch
                                                                                                  Mr. Vakhovsky
                                                                                                  General Pathoanatomy Final MCQs (201-300)- 3rd Year- PMU
                                                                                                  Med Student