Big Practice 62

Description

โจทย์ข้อสอบเก่าจากที่ทำให้ห้องเรียนสำหรับเตรียมตัวสอบ กำหนดเวลาทำ 1 ชม. เนื่องจากการเขียนตัวยกตัวห้อยใน app นี้ทำได้ยาก นิสิตต้องเดาสูตรเองบ้าง กำหนดค่าต่างๆ ดังนี้ Avogadro’s number = 6.022×10^23; Gas constant (R) = 0.0821 L•atm/mol•K = 8.314 J/mol•K; 0 degree C = 273 K; H = 1.0, C = 12.0, N = 14.0, O = 16.0, F = 19.0, Na = 23.0, P = 31.0, S = 32.1, Cl = 35.5, K = 39.1, Ca = 40.1, Co = 58.9, Ag = 107.9, I = 126
Saowarux Fuangswasdi
Quiz by Saowarux Fuangswasdi, updated more than 1 year ago
Saowarux Fuangswasdi
Created by Saowarux Fuangswasdi over 4 years ago
291
0

Resource summary

Question 1

Question
สูตรเคมีและชื่อสะกดด้วยอักษรอังกฤษของสารประกอบที่เกิดจากธาตุที่มีเลขอะตอม 82 คาร์บอน และออกซิเจน คืออะไร สูตร [blank_start]xxx[blank_end] ชื่อ [blank_start]xxx[blank_end]
Answer
  • xxx
  • xxx

Question 2

Question
เลขสัมประสิทธิ์รวมของสมการ NH3 + O2 = NO + H2O เมื่อดุลแล้วเท่ากับ [blank_start]xxx[blank_end]
Answer
  • xxx

Question 3

Question
น้ำหนักของซิลเวอร์ที่เกิดขึ้นเมื่อใช้คอปเปอร์ 45.6 g ทำปฏิกิริยากับซิลเวอร์ไนเตรตมากเกินพอเท่ากับ [blank_start]xxx[blank_end]
Answer
  • xxx

Question 4

Question
ถ้ากระเพาะอาหารผลิตน้ำย่อยซึ่งเป็นกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.100 M HCl ในแต่ละวันได้ในปริมาณ 1.80 L ในหนึ่งสัปดาห์กระเพาะอาหารผลิตกรดไฮโดรคลอริก [blank_start]xxx[blank_end] กรัม
Answer
  • xxx

Question 5

Question
ปฏิกิริยาในกรดระหว่างเปอร์แมงกาเนตไอออนกับไอโอไดด์ได้ไอโอดีนและ Mn2+ มีการแลกเปลี่ยนอิเล็กตรอน [blank_start]xxx[blank_end] อิเล็กตรอน
Answer
  • xxx

Question 6

Question
เมื่อนำซิลเวอร์ไนเตรต 5.55 g ทำปฏิกิริยากับสารละลายโซเดียมฟอสเฟต 0.500 M ปริมาตร 25.00 mL เกิดเป็นตะกอนขึ้น จะเหลือสารตั้งต้น [blank_start]xxx[blank_end] คิดน้ำหนักเป็น [blank_start]xxx[blank_end] กรัม MW N 14.0, O 16.0, Na 23.0, P 31.0, Ag 107.9
Answer
  • xxx
  • xxx

Question 7

Question
อะตอมกลางของ SeF4 ควรใช้ไฮบริดออร์บิทัล [blank_start]xxx[blank_end] ในการเกิดพันธะ มุมพันธะมีค่า [blank_start]xxx[blank_end]
Answer
  • xxx
  • xxx

Question 8

Question
จากสัญลักษณ์ธาตุที่ได้จาก FRESHMAN: F, Re, S, H, N เรียงลำดับขนาดอะตอมจากเล็กไปใหญ่ได้ [blank_start]xxx[blank_end]
Answer
  • xxx

Question 9

Question
ถ้าสารตั้งต้นในปฏิกิริยาอันดับหนึ่งลดลงจาก 0.450 M ไปเป็น 0.320 M ภายในเวลา 42.0 นาทีที่ 25 °C ปฏิกิริยานี้จะดำเนินไป 90.0% ภายในเวลา [blank_start]xxx[blank_end] นาที
Answer
  • xxx

Question 10

Question
ถ้าพลังงานก่อกัมมันต์ (activation energy) ของปฏิกิริยาหนึ่งมีค่า 60. kJ/mol การเปลี่ยนอุณหภูมิจาก 10 °C ไปเป็น 28 °C จะทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น [blank_start]xxx[blank_end] เท่า กำหนด 0 °C = 273 K
Answer
  • xxx

Question 11

Question
ถ้าปฏิกิริยา CCl4(g) + ½O2(g) ⇌ COCl2(g) + Cl2(g) มีค่า Kc = 4.4E9 ค่า Kc ที่อุณหภูมิเดียวกันของปฏิกิริยา 2COCl2(g) + 2Cl2(g) ⇌ 2CCl4(g) + O2(g) มีค่า [blank_start]xxx[blank_end]
Answer
  • xxx

Question 12

Question
ถ้าทำปฏิกิริยา A(g) + 2B(g) ⇌ C(g) โดยบรรจุ A 1.0 mol และ B 1.8 mol ลงในภาชนะ 5.0 L เมื่อปฏิกิริยาอยู่ในสมดุลพบว่าในระบบมี B อยู่ 1.0 mol ปฏิกิริยานี้มีค่า Kc เท่ากับ [blank_start]xxx[blank_end]
Answer
  • xxx

Question 13

Question
หากไทเทรต HCl 0.100 M 10.00 mL กับ NaOH 0.150 M เมื่อไข NaOH จากบิวเรต 3.00 mL สารละลายมี pH เท่ากับ [blank_start]xxx[blank_end]
Answer
  • xxx

Question 14

Question
หากพลังงานของออร์บิทัล 2S ของออกซิเจนมีค่าน้อยกว่าของคาร์บอนมาก จนทำให้ลำดับของ molecular orbital ของแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์มีลำดับที่แตกต่างจาก MO ทั่วไปคือ sigma*2s มีพลังงานสูงกว่า sigma2p หาก CO สูญเสียอิเล็กตรอนไป bond order ของ CO+ มีค่า [blank_start]xxx[blank_end]
Answer
  • xxx

Question 15

Question
สมมติว่าเราอยู่ในจักรวาลอีกแห่งซึ่งมีกฎทางฟิสิกส์ที่ต่างออกไปจากจักรวาลที่เราอยู่ โดยอิเล็กตรอนในจักรวาลนี้ถูกอธิบายโดยเลขควอนตัมสี่ตัวซึ่งมีความหมายคล้ายคลึงกับเลขที่เราใช้ โดยเรียกเลขควอนตัมเหล่านี้ว่า p, q, r และ s ซึ่งมีกฎสำหรับเลขควอนตัมมีดังนี้: p = เลขจำนวนเต็มที่มากกว่าศูนย์ q = เลขจำนวนเต็มบวกคู่ จาก 0 ถึง p r = เลขจำนวนเต็มจาก –q ถึง +q s = −1, 0, 1 การบรรจุอิเล็กตรอนในจักรวาลนี้ บรรจุใน p จากน้อยไปมาก ในชั้น p เดียวกัน ให้บรรจุอิเล็กตรอนใน q ให้เต็มจากน้อยไปมาก โดยกระจายอิเล็กตรอนลงในออร์บิทัลที่มีพลังงานเท่ากันจนทุกออร์บิทัลมีอิเล็กตรอนก่อนจะเติมอิเล็กตรอนตัวต่อไป ธาตุที่มีความว่องไวในการทำปฏิกิริยามากที่สุดและมีเลขอะตอมมากที่สุดเมื่อ p = 4 มีเลขอะตอมเท่ากับ [blank_start]xxx[blank_end]
Answer
  • xxx
Show full summary Hide full summary

Similar

Electrolysis
lisawinkler10
Chemistry General Quiz - 2
lauren_johncock
Chemistry Quiz General -3
lauren_johncock
The Periodic Table
asramanathan
Ionic Bondic Flashcards.
anjumn10
Acids, Bases and Salts
asramanathan
Chemistry GCSE Review - States of Matter, Particles, Atoms, Elements, Compounds and Mixtures
Morgan Overton
Acids and Bases
Sarah Egan
Using GoConqr to study science
Sarah Egan
Testing for ions
Joshua Rees
Acids and Bases
silviaod119